วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Strategic Quality Planning



                               Strategic Quality Planning
In order to understand the concept of strategic management, first we need to understand the literal meaning of the word “strategy”. The definition is mentioned below:
1. The science and art of using all the forces of a nation to execute approved plans as effectively as possible during peace or war. The science and art of military command as applied to the overall planning and conduct of large-scale combat operations.
2. A plan of action resulting from strategy or intended to accomplish a specific goal. 
3. The art or skill of using stratagems in endeavors such as politics and business
What is the relation of Strategic Planning and Total Quality Management?
When an organizations chooses to make quality a major competitive edge (differentiation), it becomes the central issue in strategic planning. This is especially reflected in vision, mission and policy guidelines of an organization.
An essential idea behind strategic quality planning is that the product is customer value rather than a physical product or service. This feat cannot be achieved unless an organization creates a culture of quality and no strategy and plan can be worthwhile unless it is carefully implemented.
What do you understand by the term quality statements? Elaborate them with examples.
Quality statements are part of strategic planning process and once developed, are occasionally reviewed and updated.
There are three types of quality statements:
1.  Vision statement
2.  Mission statement
3.  Quality policy statement
The utilization of these statements varies from organization to organization. Small organization may use only the quality policy statement
1. Vision Statement: The vision statement is a short declaration what an organization aspires to be tomorrow. A vision statement, on the other hand, describes how the future will look if the organization achieves its mission.
Successful visions are timeless, inspirational, and become deeply shared within the organization, such as:
  • IBM’s Service
  • Apple’s Computing for the masses
  • Disney theme park’s the happiest place on the earth, and
  • Polaroid’s instant photography
2. Mission Statement: A mission statement concerns what an organization is all about. The statement answers the questions such as: who we are, who are our customers, what do we do and how do we do it. This statement is usually one paragraph or less in length, easy to understand, and describes the function of the organization. It provides clear statement of purpose for employees, customers, and suppliers.
An example of mission statement is:
Ford Motor Company is a worldwide leader in automatic and automotive related products and services as well as the newer industries such as aerospace, communications, and financial services. Our mission is to improve continually our products and services to meet our customers’ needs, allowing us to prosper as a business and to provide a reasonable return on to our shareholders, the owners of our business.
3. Quality Policy Statement:  The quality policy is a guide for everyone in the organization as to how they should provide products and services to the customers.It should be written by the CEO with feedback from the workforce and be approved by the quality council. A quality policy is a requirement of ISO 9000.
A simple quality policy is:
Xerox is a quality company. Quality is the basic business principle for Xerox. Quality means providing our external and internal customers with innovative products and services that fully satisfy their requirements. Quality is the job of every employee.
How an organization can do strategic quality planning?
The process starts with the principles that quality and customer satisfaction are the center of an organization’s future. It brings together all the key stakeholders.
The strategic planning can be performed by any organization. It can be highly effective, allowing the organizations to do the right thing at the right time, every time.
There are seven steps to strategic Quality Planning:
  1. Discover customer needs
  2. Customer positioning
  3. Predict the future
  4. Gap analysis
  5. Closing the gap
  6. Alignment
  7. Implementation
1. Customer Needs: The first step is to discover the future needs of the customers. Who will they be? Will your customer base change? What will they want? How will they want? How will the organization meet and exceed expectations?
2. Customer Positioning: Next, the planners determine where organization wants to be in relation to the customers. Do they want to retain, reduce, or expand the customer base. Product or services with poor quality performance should be targeted for breakthrough or eliminated. The organization’s needs to concentrate its efforts on areas of excellence.
3. Predict the future: Next planners must look into their crystal balls to predict the future conditions that will affect their product or service. Demographics, economics forecasts, and technical assessments or projections are tools that help predict the future.
4. Gap Analysis : This step requires the planner to identify the gaps between the current state and the future state of the organization. An analysis of the core values and concepts is an excellent technique for pinpointing  gaps.
5. Closing the Gap: The plan can now be developed to close the gap by establishing goals and responsibilities. All stakeholders should be included in the development of the plan.
6. Alignment: As the plan is developed, it must be aligned with the mission, vision, and core values and concepts of the organization. Without this alignment, the plan will have little chance of success.
7. Implementation: This last step is frequently the most difficult. Resources must be allocated to collecting data, designing changes, and overcoming resistance to change. Also part of this step is the monitoring activity to ensure that progress is being made. The planning group should meet at least once a year to assess progress and take any corrective action
 .....................
เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2555, 1:14, จีรนันท์ ภุมวรรณ <yingjeje@yahoo.co.th> เขียนว่า:
เรียน ท่านศาตราจารย์ ดร.เรวัฒน์ ชาตรีวิศิษฎ์
          ดิฉัน จีรนันท์  ภุมวรรณ เคยศึกษาระดับปริญญาโท วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ ศูนย์บางแสน มหาวิทยาลัยบูรพา รปม. 3 ค่ะ เมื่อตอนที่เรียนอยู่นั้น อาจารย์เคยให้เอกสารเกี่ยวกับ Strategic Planning HRM HRD, อ้างอิงตามเอกสารแนบค่ะ  แต่ว่าอาจารย์มีเอกสารทางด้าน Quality Strategic Planning บ้างไหมค่ะ ถ้ามีต้องขอความช่วยเหลือหน่อยนะค่ะ เพราะว่าจีรนันท์จะนำมาเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้เพื่อปีหน้าค่ะ
ต้องขออภัยอย่างสูงหากรบกวนเวลาของท่านอาจารย์
 
ขอให้ร่ำรวยสุขภาพค่ะ
ขอแสดงความนับถือ
จีรนันท์  ภุมวรรณ

วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ขอขอบคุณท่าน สุทัศน์ ราศรีชัย เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ จังหวัดเพชรบูรณ์

      ขอขอบคุณท่าน สุทัศน์ ราศรีชัย เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ จังหวัดเพชรบูรณ์


                       หนังสือขอบคุณ กรมประชาสัมพันธ์ สสวท. จ.เพชรบูรณ์





กรมประชาสัมพันธ์ จ.เพชรบูรณ์


สุทัศน์

         ปี 2524 กรมประชาสัมพันธ์ มีโครงการขยายเขตบริการวิทยุกระจายเสียง ให้ครอบคลุมพื้นที่ของประเทศไทย ตาม นโยบาย ของรัฐบาลและเนื่องจาก พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ มีลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นแอ่งกระทะ มีภูเขาล้อมรอบ ทั้ง 3 ทิศ (ทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก) จึงไม่สามารถรับฟังข่าวสาร รายการต่างๆ จากสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ในจังหวัดใกล้เคียง คือ พิษณุโลก และ เลย ได้ชัดเจน กอปรกับ ขณะนั้น บนเทือกเขาของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นเขตแทรกซึมของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ กรมประชาสัมพันธ์ จึงได้เร่งจัดตั้ง สถานี วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเพชรบูรณ์ขึ้นบนที่ราชพัสดุพื้นที่ 27 ไร่ 50 ตารางวา บริเวณริมทางหลวง หมายเลข 21 ถนนสระบุรี-หล่มสัก ตำบลสะเดียง อำเภอเมือง (ห่างจากตัว เมือง ไปทางหล่มสัก 5 กิโลเมตร) โดยติดตั้งเครื่อง ส่ง ระบบ AM ความถี่ 873 Khz ซึ่งเป็นเครื่องส่ง ที่ฝ่ายเทคนิค ศปข.2 (เดิม) จัดสร้างขึ้นเอง และเริ่มส่งกระจายเสียง อย่าง เป็นทางการ ตั้งแต่ วันที่ 9 เมษายน 2529 ปีงบประมาณ 2534 กรมประชาสัมพันธ์ได้รับการจัดสรรงบประมาณจัดตั้งสถานีวิทยุระบบ FM ความถี่102.75 MHz เพิ่มขึ้นอีกระบบหนึ่ง โดยสร้างห้องส่ง ในตัวอาคารสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยระบบ AM และติด ตั้ง เครื่องส่งฯ ระบบ FM ไว้ในอาคาร สถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ ช่อง 11 เพชรบูรณ์ ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามของถนน และติด ตั้งสายอากาศ ร่วมเสา เดียวกับสายอากาศโทรทัศน์ เริ่มส่งกระจายเสียงระบบ FM Stereo Multiplex ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2535 เป็นต้นมา ปี 2540 สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้รับงบประมาณจัดซื้อเครื่องส่งระบบ AM Stereo กำลังส่ง 10 KW พร้อมอุปกรณ์ส่วนควบ และระบบสายอากาศ รวมงบประมาณ 6.2 ล้านบาท พร้อมทั้ง อาคารที่ทำการ ซึ่งใช้ เป็นห้องส่งวิทยุ ทั้งระบบ AM และ FM ด้วย เป็นอาคาร 2 ชั้นทรงไทยแห่งแรก ของ กรมประชาสัมพันธ์ เป็นต้นแบบของ อาคารสวท.เชียงราย , สวท.ชุมพร เป็นต้น ปัจจุบันสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่ง ประเทศไทยจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่งกระจายเสียง ในระบบ AM Strereo ด้วยความถี่ 846 KHz กำลังส่ง 10 KW และ ในระบบ FM Stereo Multiplex ด้วยความถี่ 102.75 MHz ตั้งแต่เวลา 05.00-24.00 น.ทุกวัน



ขอขอบคุณท่าน สุทัศน์ ราศรีชัย

 เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ดำเนินการเป็นธุระ การประกาศข่าวสาร ที่ร้องขอ

ศ.ดร.สมัย เหมมั่น ธุรกิจจัดสรรคุณภาพ หมู่บ้านที่ดี





ขอความกรุณา ประกาศข่าว ทุญให้หน่อยครับ ขอบคุณน่ะครับ
วัดศรีษะเกตุ บ้านโสก หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
วันที่ 24-25 พย. 2555
ขอเชิญร่วมงาน ถวายพระกฐินสามัคคี คณะลูกหลานทุกๆตระกูล ประจำปี 2555 ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคี ร่วม กับ
ท่าน ศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ ดร.สมัย เหมมั่น

สาเหตุการจัดงานครั้งนี้เนื่องจาก คณะกรรมการวัดและทางวัดได้ร่วมกันสร้าง อุโบสถษ์พร้อมทำพิธีฝังลูกนิมิตแล้ว และ ร่วมกันสร้างหอระฆัง แล้วเสร็จจึงจัดฉลอง ในปีนี้ พศ.2555 จึงเชิญผู้มีจิตนิมิตหมายเดียวกันร่วมทำบุญถวายพระกฐินสามัคคี ครั้งแรกคู่กับ อุโบสถษ์หลังใหม่ครั้งแรกของวัด ร่วมกัน เพื่อเป็นประวัติศาสตน์ของตำบลบ้านโสกสืบต่อไป

คณะกรรมการการจัดงาน

1.พระครูพัชรปัญญาวุฒิ เจ้าอาวาสวัดศรีษะเกตุ
2.คณะกำนันและผู้ใหญ่บ้าน ทุกคน ตำบลบ้านโสก
3.กรรมการจัดการสาย พระกฐินสมทบ( ฝ่ายประสานงาน)
นายหนูน้อย แสงมณี
นายชัยวุฒิ แสงมณี
นายวิไล แก่นโท
4.คณะลูกหลาน ตำบลบ้านโสก ทุกๆตระกูล ร่วมช่วยกันจัดหาสมทบทุนพระกฐิน

ในกลางคืนขอเชิญฟังหมอลำกอน ประยุคต์ คณะ ดาเหลา หมอลำดังดังระดับภาค
และการเล่นพื้นบ้านต่างของ ชาวบ้านโสก


ในเนื้อหา ขอให้คุณ พี่ สุทัศน์ พิจรณา ตามสมควรครับ

                 

  •                   ศ.ดร.สมัย เหมมั่น

                  คน บ้านโสก อ.หล่มสัก
    ขอขอบคุณครับการให้ความอนุเคราะห์ในสื่อ






ศ.กิตติมศักดิ์  ดร.สมัย เหมมั่น

     ผมไปเล่าถึงประวัตบ้านผม และความเป็นมาของผม ให้ฝรั่งฟัง ว่าบ้านโสก เป็นอย่างไร  สู้ๆๆ
ประวัติตำบลบ้านโสก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
« เมื่อ: เมษายน 10, 2012, 10:58:34 PM »
ประวัติตำบลบ้านโสก
ที่ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านโสก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

ประวัติความเป็นมา

บ้านโสก เป็นหมู่บ้านที่อยู่ติดกับหมู่บ้านส้มเลาและใกล้กับบ้านหวายและบ้านห้วยโปร่ง ตำบลบ้านหวาย ความเป็นมาของชุมชนบ้านโสก ตามตำนานการสืบต่อกับมาเช่นเดียวกับบ้านส้มเลา คือเป็นวัฒนธรรมส่วนหนึ่งของเมืองราดในสมัยกรุงสุโขทัย และเป็นชาวลาวอพยพมาตั้งถิ่นฐานซึ่งจะสังเกตได้จากวัฒนธรรมประเพณี เหมือนกับชาวบ้านหวาย บ้านติ้ว บ้านส้มเลา และบ้านห้วยโปร่ง แต่ชาวบ้านโสกปัจจุบัน มีผู้คนอพยพมาจากบ้านท่ากกโพธิ์ บ้านสักหลง และคนในอำเภอหล่มสัก บางส่วน ทำให้ภาษาพูดของชาวบ้านโสก ผิดเพี้ยนจากบ้านหวาย บ้านติ้ว บ้านส้มเลาและบ้านห้วยโปร่งบ้าง มีลักษณะคล้ายกับลาวหล่มสัก ตัดไม้จัตวาออกไปหลายคำ (บ้านหวาย บ้านส้มเลาใช้คำที่เติม ไม้จัตวาเป็นมาก)

ความเป็นมาของชื่อหมู่บ้าน ในสมัยก่อนเรียกชื่อบ้านว่า "บ้านห้วยโสก" คำว่า "ห้วย" หมายถึงแม่น้ำที่แคบ "โสก" หมายถึง บริเวณที่น้ำตกกระแทกเป็นแอ่งลึกเรียกว่า โสก เป็นการไหลของห้วยขอนแก่นหมู่ที่ตั้งบริเวณนี้เรียกว่า บ้านห้วยโสก ต่อมาเปลี่ยนเป็น บ้านโสก

สภาพภูมิศาสตร์และการคมนาคม

สภาพทั่วไปพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มลำน้ำห้วยขอนแก่น มีอาณาเขตติดต่อดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านส้มเลา

ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านาหลวง

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหวาย

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านร่องไผ่ และบ้านตาลเดี่ยว

การคมนาคม มีระยะห่างจากอำเภอหล่มสัก ประมาณ 2.5 กิโลเมตร โดยเส้นทาง สายหล่มสัก - บ้านติ้ว การเดินทางติดต่อกับหมู่บ้านอื่นได้สะดวกตลอดปี

ประชากร

มีประชากร คน ชาย คน หญิง คน ครัวเรือน

อาชีพ

ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ได้แก่ การทำนา การปลูกผัก ยาสูบ ผักสวนครัว มีบางส่วนที่ทำการค้าขาย และรับจ้างทั่วไป พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ยาสูบ




ศาสนาวัฒนธรรมและประเพณี

ชาวบ้านโสก นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 5 แห่ง คือ วัดศรีสะเกตุ มีวัฒนธรรมเช่นเดียวกับชาวบ้านหวายและบ้านส้มเลา เพราะเป็นชนกลุ่มเดียวกันที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานบริเวณนี้ มีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ได้แก่ ภาษาพูดเป็นภาษาลาวคล้ายกับเวียงจันทร์และหลวงพระบาง ด้านการแต่งกายในอดีตผู้หญิงใส่ผ้าซิ่น เสื้อคอกระเช้า ผู้ชายใส่โสร่งและเสื้อคอกลม ใช้ผ้าขาวม้าเป็นเครื่องประกอบในการแต่งกาย มีลักษณ์เช่นเดียวกับบ้านส้มเลา

ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์และปัจจุบันได้มีการอนุรักษ์เอาไว้ เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา คือ "การเล่นแมงตับเต่า " บ้านโสกปัจจุบันมีคณะแมงตับเต่าที่ยังแสดงอยู่ในงานที่สำคัญสำหรับแขกเมืองอยู่ 1 คณะ โดยการอนุรักษ์ของศูนย์ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบูรณ์ สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์ ซึ่งรายละเอียดการเล่นแมงตับเต่า พอสรุปได้คราว ๆ ดังนี้

- การเล่นแมงตับเต่าเกิดขึ้นมาแต่สมัยใดไม่ทราบแน่นอน แต่เป็นการแสดงของชาวอำเภอหล่มสักที่สืบทอดกันมานาน หมู่บ้านในตำบลบ้านโสก และบ้านหวายปัจจุบัน เป็นหมู่บ้านที่ตั้งขึ้นมาพร้อมกับเมืองหล่มสัก จึงมีการละเล่นแมงตับเต่าติดต่อกันมาเรื่อยมา

- การเล่นแมงเต่า มักแสดงในงานสมโภช์ต่าง ๆ ในสมัยก่อนผู้แสดงเป็นชายล้วน เรื่องที่จะเล่นได้แก่ เรื่องจำปาสี่ต้น ท้าวก่ำกาดำ ท้าวสุริวงค์ พระเวสสันดร ขูลูนางอั้ว นางผมหอม (เสือโคคำฉันท์) เงาะป่า(สังข์ทอง) ไกรทอง นางแตงอ่อน การะเกด พระสุธนนางมโนราห์ เป็นต้น เกษรอุบล สังข์ศิลป์ชัย รามเกียรติ์ ขุนแผน เต่าทอง นางอรพิน ทานตะวันจันทรา และประกายแก้วประกายแสง เป็นต้น

- การแต่งกาย ของนักแสดงมีตัวพระตัวนาง ตัวพระนุ่งจงกระเบนใส่เสื้อและมีเครื่องประดับตัวนางใส่ชุดไทย มีมงกุฏหรือชฏาสวมหัว ส่วนตัวประกอบอื่น ๆ แต่งตัวตามบทบาทที่แสดง การแต่งกายมีลักษณะคล้ายลิเกของภาคกลาง

บทพูดหรือบทพากย์ เป็นภาษาหล่มสักทั้งหมด บทร้องเป็นเอกลักษณ์ ขึ้นต้นด้วย " บัดนี้" หรือ "แต่นั้น " แล้วก็กล่าวเรื่องราวต่อไปตามบทของเรื่องที่แสดง

เครื่องดนตรีประกอบด้วย กลอง ระนาด ฆ้องวง ปี่พากย์ พิณ แคน ซอ ซึง ฉิ่ง และขลุ่ย

ก่อนแสดงจะมีการยกครู หรือที่เรียกว่า " คายอ้อ " (สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่บูชาแล้วทำให้การแสดงเป็นไปด้วยดี นักแสดงคิดบทได้ดีโดยไม่ติดขัด) เครื่องยกครูมีดังนี้ ผ้าขาวใหม่ 1 ผืน ไข่ต้ม 1 ฟอง ฝ้าย 1 ไจ แป้งผัดหน้า น้ำหอม หวี กระจก ขัน 5 (ดอกไม้ 5 คู่ เทียน 5 คู่) สุราขาว เงิน 12 บาท สิ่งของเหล่านี้เจ้าภาพเป็นผู้จัดหาให้ การแสดงในปัจจุบันที่มีการอนุรักษ์ได้ให้มีผู้หญิงแสดงได้

นอกจากการเล่นแมงตับเต่า ประเพณีอย่างอื่นเหมือนหมู่บ้านส้มเลาทุกประการ

ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน

ได้กล่าวมาแล้วว่าชาวบ้านโสก เป็นชุมชนที่มีมานาน การสั่งสมภูมิปัญญาเกิดขึ้นกับชุมชนมีมากมาย ที่น่าจะได้มีการมากมาย ที่น่าจะได้การศึกษา และอนุรักษ์เอาไว้เอาไว้เพื่อเป็นประโยชน์ ต่อความเป็นอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ ด้านศิลปะ มีการแทงหยวก(ต้นกล้วย) และการฉลุกระดาษเงินกระดาษทองเป็นลายไทย เพื่อใช้ประดับตกแต่งโล่งศพและที่เผาศพ เจ้าของภูมิปัญญาที่มีชีวิตอยู่ได้แก่ พ่อบัวภา สะดา อายุ 80 ปี

มีการมัดหมี่ เป็นลายต่าง ๆ มีชื่อเรียกตามลวดลายที่มัด โดยการนำเอาไหมที่เป็นเส้นมามัดด้วยเชือกกล้วย แล้วนำไปย้อมสีต่าง ๆ นำไปทอเป็นผ้าซิ่น และผ้าสำหรับตัดเย็บเสื้อผ้า

การแส่วทุง (สานธง) เพื่อถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยการนำฝ้ายสีต่าง ๆ มาสานเป็นลายรูปสี่เหลี่ยมเรียงลำดับจากใหญ่ไปหาน้อย เรียงกันเป็นผืนเดียวกันมีลักษณะยาวเรียว ใช้ไม้ไผ่เป็นแกน โดยไปรวมกันแส่วทุงที่วัดในหมู่บ้าน หลังสงกรานต์ ผู้ที่มีความสามารถด้านนี้เป็นคนที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปี ขึ้นไปในหมู่บ้านทุกคน

หมอคูณขวัญ (หมอสู่ขวัญ) เพื่อเรียกขวัญในพิธีสู่ขวัญต่าง ๆ โดยใช้ภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตผสมผสานกัน เจ้าของภูมิปัญญาได้แก่ พ่อคำ กองสี

การละเล่นแมงตับเต่า ผู้ที่มีความสามารถในการแสดงแมงตับเต่า ได้แก่ นางเตือนใจ สิงห์นนท์ นางมะลิ ธงชัย และนายกี พันอะ

ด้านการรักษาโรค มีการใช้สมุนไพรรักษาโรค ได้แก่ การนำรากไม้หรือชิ้นส่วนของต้นไม้ที่เป็นสมุนไพร มาฝนและรักษาโรค เช่น อาการปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย ใช้ทาแก้คัน รักษาแผล ห้ามเลือด นอกจากนี้ยังมีการย่างด้วย

สมุมไพร การอบด้วยสมุนไพรเพื่อรักษาโรค เช่น การอยู่ไฟหลังคลอด การย่าง แก้ช้ำใน และการใช้น้ำมันงารักษากระดูกหัก


 


ประวัติตำบลบ้านโสก

ประวัติความเป็นมา

บ้านโสก เป็นหมู่บ้านที่อยู่ติดกับหมู่บ้านส้มเลาและใกล้กับบ้านหวายและบ้านห้วยโปร่ง ตำบลบ้านหวาย ความเป็นมาของชุมชนบ้านโสก ตามตำนานการสืบต่อกับมาเช่นเดียวกับบ้านส้มเลา คือเป็นวัฒนธรรมส่วนหนึ่งของเมืองราดในสมัยกรุงสุโขทัย และเป็นชาวลาวอพยพมาตั้งถิ่นฐานซึ่งจะสังเกตได้จากวัฒนธรรมประเพณี เหมือนกับชาวบ้านหวาย บ้านติ้ว บ้านส้มเลา และบ้านห้วยโปร่ง แต่ชาวบ้านโสกปัจจุบัน มีผู้คนอพยพมาจากบ้านท่ากกโพธิ์ บ้านสักหลง และคนในอำเภอหล่มสัก บางส่วน ทำให้ภาษาพูดของชาวบ้านโสก ผิดเพี้ยนจากบ้านหวาย บ้านติ้ว บ้านส้มเลาและบ้านห้วยโปร่งบ้าง มีลักษณะคล้ายกับลาวหล่มสัก ตัดไม้จัตวาออกไปหลายคำ (บ้านหวาย บ้านส้มเลาใช้คำที่เติม ไม้จัตวาเป็นมาก)

ความเป็นมาของชื่อหมู่บ้าน ในสมัยก่อนเรียกชื่อบ้านว่า "บ้านห้วยโสก" คำว่า "ห้วย" หมายถึงแม่น้ำที่แคบ "โสก" หมายถึง บริเวณที่น้ำตกกระแทกเป็นแอ่งลึกเรียกว่า โสก เป็นการไหลของห้วยขอนแก่นหมู่ที่ตั้งบริเวณนี้เรียกว่า บ้านห้วยโสก ต่อมาเปลี่ยนเป็น บ้านโสก

1. สภาพทั่วไป

1.1 ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ

ตำบลบ้านโสก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด 7 หมู่บ้านมี ระยะทางห่างจากอำเภอหล่มสัก เป็นระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลสักหลง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ โดย มีระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร

ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมีระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร

ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลบ้านหวาย อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมี ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร

ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลตาลเดี่ยว อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมี ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร

1.2 เนื้อที่

ตำบลบ้านโสก มีเนื้อที่ประมาณ 13.66 ตารางกิโลเมตร หรือ มีเนื้อที่ประมาณ 8,542 ไร่

1.3 ภูมิประเทศ

สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มต่ำ ซึ่งเป็นท้องทุ่งกว้างมีแม่น้ำป่าสักและห้วยขอนแก่นไหลผ่านคลองชลประทานสองข้างถนนเหมาะสำหรับการการประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าวการปลูกยาสูบ การปลูกชมพู่ การปลูกมะพร้าว การปลูกมะม่วง การปลูกมะไฟ การปลูกมะขาม การปลูกหอม การปลูกหอมแดง การปลูกหอมชี การปลูกแตงกวา การปลูกกะหล่ำปลี การปลูกพริก การปลูกข้าวโพด


หมู่บ้านทั้ง 7 หมู่บ้าน มีดังนี้

หมู่ที่ 1 บ้านส้มเลาใต้ เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 2 นายอนงค์ สะดา กำนัน

หมู่ที่ 2 บ้านโสก เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 2 นายไพรฑูรย์ บุญอุบล ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 3 บ้านโสก เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 2 นายเกียรติ ปาชม ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 4 บ้านส้มเลาเหนือ เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 นายสุนิด ขวัญจอม ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 5 บ้านไฮหย่อง เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 นายคำพิน จันทร์เตื่อย ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 6 บ้านนาหลวง เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 นายสุพรหม นามสิมมา ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งส้มเลา เป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 นายฉลอง บัวโฮม ผู้ใหญ่บ้าน

การปกครององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโสก จำนวน 7 หมู่บ้าน
http://www.longnoo50.com/bansok/
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: เมษายน 10, 2012, 11:01:07 PM โดย Peter
 
 





ศ.กิตติมศักดิ์ ดร.สมัย เหมมั่น